บริษัท เอ็น เอส เอ โซลูชั่น จำกัด > Training course > อับอากาศ
หลักการและเหตุผล:Fundamentals and Method
“ที่อับอากาศ” (Confined Space) หมายความว่า ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดและไม่ได้ออกแบบไว้
สำหรับเป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และมีสภาพอันตรายหรือมีบรรยากาศอันตราย
เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน ตามกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 หมวดที่ 4 ข้อ 20 ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกำหนดแก่ลูกจ้างทุกคนที่ทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจทักษะที่จำเป็นในการทำงานอย่างปลอดภัย ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งวิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน นายจ้างหรือสถานประกอบการหลายแห่ง ไม่ทราบถึงการปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่เหมาะสม และยังอนุญาตให้ลูกจ้างลงไปปฏิบัติงานในที่อับอากาศ ทำให้ลูกจ้างเสียชีวิต ประสบเหตุขาดออกซิเจน ทำให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจมากมาย
วัตถุประสงค์:Objective
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติงานที่ถูกต้องในเรื่องความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้ ความเข้าใจ ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในที่อับอากาศต่อไป
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองตามที่นายจ้างมอบหมาย
4. เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562
5. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
6. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงปัญหา สาเหตุและความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน
เหมาะสำหรับ : Who Should Attend?
พนักงานที่ปฏิบัติงานที่อับอากาศ หัวหน้าผู้ควบคุมงาน ตัวแทนผู้บริหาร เจ้าหน้าที่่ความปลอดภัยในการทำงาน
ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน
เนื้อหาโดยรวม:Course Overview
ภาคทฤษฎี
1: กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2: ความหมาย/ชนิด/ประเภทของที่อับอากาศและอันตรายในที่อับอากาศ
3: การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และการเตรียมความพร้อม
4: วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
5: การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือช่วยชีวิต
6: ระบบการขออนุญาตการทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์
7: บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงานและการสื่อสาร
8: เทคนิคการตรวจสอบสถาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์
9: เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
10: การสั่งให้หยุดงานชั่วคราว
11: การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
12: อันตรายที่อาจจะได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย
13: การช่วยเหลือช่วยชีวิต
14: การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยผู้ที่หยุดหายใจ (CPR)
15: เทคนิคการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
16: การควบคุมดูแลการใช้เครื่องป้องกันและอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ภาคปฏิบัติ
1: เทคนิคการตรวจสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือวัด
2: เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
3: เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
4: เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ
5: การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร
6: การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
7: การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ
8: การช่วยเหลือและช่วยชีวิต
9: การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยผู้ที่หยุดหายใจ (CPR)
10: สถานการณ์ปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติและกรณ๊เกิดเหตุฉุกเฉิน
หมายเหตุ หัวข้อการฝึกอบรมจะเป็นไปตามหลักสูตรที่กำหนด
คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม:Attendees Qualification
1: มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์
2: มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม
3: มีใบรับรองการฝึกอบรมหลักสูตร ดับเพลิงขั้นต้น
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม :Number of Attendees/Course
ภาคทฤษฎี (Theory) 30 ท่าน/วิทยากร 1 ท่าน
ภาคปฏิบัติติ (Practice) 15 ท่าน/ วิทยากร 1 ท่าน
ระยะเวลาการฝึกอบรม:Course Duration
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ภาคทฤษฎี 5 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 2 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 7 ช.ม.(1 วัน)
2.หลักสูตร ผู้ควบคุมงาน ภาคทฤษฎี 9 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 3 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 12 ช.ม.(2 วัน)
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ภาคทฤษฎี 9 ช.ม.และภาคปฏิบัติติ 3 ช.ม.ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 12 ช.ม.(2 วัน)
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ภาคทฤษฎี 12 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 6 ช.ม.ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 18 ช.ม.(3 วัน)
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ภาคทฤษฎี 15 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 9 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 24 ช.ม.(4 วัน)
6:หลักสูตร ทบทวน ภาคทฤษฎี >3 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 0 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 3 ช.ม.(0.5 วัน)
** เอกสารที่ลูกค้าต้องเตรียมสำหรับหลักสูตร ทบทวน
1.หลักฐานการอบรมดับเพลิงขั้นต้น
2.วุฒิบัตรผ่านการอบรมอับอากาศของเดิมที่จะหมดอายุ
อัตราค่าลงทะเบียนต่อหลักสูตร :Registration Fee/Courses for 1-15 Persons
In-House Training สมัครเรียนแบบเหมาหลักสูตร
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ราคา (Price) 14,000 บาท
2.หลักสูตร ผู้ควบคุม ราคา (Price) 25,500 บาท
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ราคา (Price) 25,500 บาท
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ราคา (Price) 35,500 บาท
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ราคา (Price) ลูกค้าเป็นผู้จัดฝึกอบรม 45,500 บาท
6. หลักสูตร ทบทวน ราคา (Price) 14,500 บาท
Public Training สมัครเรียนแบบรายบุคคล
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ราคา (Price) 1,000 บาท
2.หลักสูตร ผู้ควบคุม ราคา (Price) 2,000 บาท
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ราคา (Price) 2,000 บาท
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ราคา (Price) 3,000 บาท
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ราคา (Price) 4,000 บาท
6. หลักสูตร ทบทวน ราคา (Price) 1,000 บาท
ผู้บรรยายหลักสูตร:Instructor By
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากทีมงาน ศูนย์ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานแห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Northeastern Safety Training Center
ใบรับรองการฝึกอบรม:Certification
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับใบรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรภายในวันอบรม
ใบรับรองการฝ่านการฝึกอบรมจากบริษัทของลูกค้าร่วมกับวิทยากรผู้บรรยาย
หมายเหตุ หลักสูตรอบรมเป็นไปตามข้อกำหนดของประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
พ.ศ. 2564 หมวด 1 ข้อที่ 2 การอบรมโดยนายจ้าง ออกใบรับรองในนามบริษัทของนายจ้างเท่านั้น
ส่วนบนของฟอร์ม
* * สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณากรอกข้อมูลเหล่านี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการให้ข้อมูลสำหรับท่าน
(Thai) หลักการและเหตุผล:Fundamentals and Method“ที่อับอากาศ” (Confined Space) หมายความว่า ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดและไม่ได้ออกแบบไว้
สำหรับเป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และมีสภาพอันตรายหรือมีบรรยากาศอันตราย
เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน ตามกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 หมวดที่ 4 ข้อ 20 ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกำหนดแก่ลูกจ้างทุกคนที่ทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจทักษะที่จำเป็นในการทำงานอย่างปลอดภัย ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งวิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน นายจ้างหรือสถานประกอบการหลายแห่ง ไม่ทราบถึงการปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่เหมาะสม และยังอนุญาตให้ลูกจ้างลงไปปฏิบัติงานในที่อับอากาศ ทำให้ลูกจ้างเสียชีวิต ประสบเหตุขาดออกซิเจน ทำให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจมากมาย
วัตถุประสงค์:Objective
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติงานที่ถูกต้องในเรื่องความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้ ความเข้าใจ ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในที่อับอากาศต่อไป
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองตามที่นายจ้างมอบหมาย
4. เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562
5. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
6. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงปัญหา สาเหตุและความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน
เหมาะสำหรับ : Who Should Attend?
พนักงานที่ปฏิบัติงานที่อับอากาศ หัวหน้าผู้ควบคุมงาน ตัวแทนผู้บริหาร เจ้าหน้าที่่ความปลอดภัยในการทำงาน ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน
เนื้อหาโดยรวม:Course Overview
ภาคทฤษฎี
1: กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2: ความหมาย/ชนิด/ประเภทของที่อับอากาศและอันตรายในที่อับอากาศ
3: การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และการเตรียมความพร้อม
4: วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
5: การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศและอุปกรณ์ช่วยเหลือช่วยชีวิต
6: ระบบการขออนุญาตการทำงานในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์
7: บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงานและการสื่อสาร
8: เทคนิคการตรวจสอบสถาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์
9: เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
10: การสั่งให้หยุดงานชั่วคราว
11: การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
12: อันตรายที่อาจจะได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกภัย
13: การช่วยเหลือช่วยชีวิต
14: การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยผู้ที่หยุดหายใจ (CPR)
15: เทคนิคการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
16: การควบคุมดูแลการใช้เครื่องป้องกันและอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ภาคปฏิบัติ
1: เทคนิคการตรวจสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือวัด
2: เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
3: เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
4: เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ
5: การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร
6: การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
7: การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ
8: การช่วยเหลือและช่วยชีวิต
9: การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยผู้ที่หยุดหายใจ (CPR)
10: สถานการณ์ปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติและกรณ๊เกิดเหตุฉุกเฉิน
หมายเหตุ หัวข้อการฝึกอบรมจะเป็นไปตามหลักสูตรที่กำหนด
คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม:Attendees Qualification
1: มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์
2: มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่าการเข้าไปที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม
3: มีใบรับรองการฝึกอบรมหลักสูตร ดับเพลิงขั้นต้น
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม :Number of Attendees/Course
ภาคทฤษฎี (Theory) 30 ท่าน/วิทยากร 1 ท่าน
ภาคปฏิบัติติ (Practice) 15 ท่าน/ วิทยากร 1 ท่าน
ระยะเวลาการฝึกอบรม:Course Duration
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ภาคทฤษฎี 5 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 2 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 7 ช.ม. (1 วัน)
2.หลักสูตร ผู้ควบคุมงาน ภาคทฤษฎี 9 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 3 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 12 ช.ม. (2 วัน)
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ภาคทฤษฎี 9 ช.ม.และภาคปฏิบัติติ 3 ช.ม.ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 12 ช.ม. (2 วัน)
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ภาคทฤษฎี 12 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 6 ช.ม.ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 18 ช.ม. (3 วัน)
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ภาคทฤษฎี 15 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 9 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 24 ช.ม. (4 วัน)
6:หลักสูตร ทบทวน ภาคทฤษฎี 6.0 ช.ม. และ ภาคปฏิบัติติ 0 ช.ม. ระยะเวลาอบรมรวมทั้งหมด 6.0 ช.ม. (1 วัน)
** เอกสารที่ลูกค้าต้องเตรียมสำหรับหลักสูตร ทบทวน
1.หลักฐานการอบรมดับเพลิงขั้นต้น
2.วุฒิบัตรผ่านการอบรมอับอากาศของเดิมที่จะหมดอายุ
อัตราค่าลงทะเบียนต่อหลักสูตร :Registration Fee/Courses for 1-15 Persons
In-House Training สมัครเรียนแบบเหมาหลักสูตร (15 ท่าน)
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ราคา (Price) 14,000 บาท
2.หลักสูตร ผู้ควบคุมงาน ราคา (Price) 25,500 บาท
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ราคา (Price) 25,500 บาท
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ราคา (Price) 35,500 บาท
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ราคา (Price) ลูกค้าเป็นผู้จัดฝึกอบรม 45,500 บาท
6. หลักสูตร ทบทวน ราคา (Price) 14,500 บาท
Public Training สมัครเรียนแบบรายบุคคล
1.หลักสูตร ผู้อนุญาต ราคา (Price) 1,000 บาท
2.หลักสูตร ผู้ควบคุม ราคา (Price) 2,000 บาท
3.หลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ราคา (Price) 2,000 บาท
4.หลักสูตร ผู้ช่วยเหลือ ราคา (Price) 3,000 บาท
5.หลักสูตร รวม 4 ผู้ ราคา (Price) 4,000 บาท
6. หลักสูตร ทบทวน ราคา (Price) 1,000 บาท
ผู้บรรยายหลักสูตร:Instructor By
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากทีมงาน ศูนย์ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานแห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Northeastern Safety Training Center (์NTSTC)
หลักสูตรที่อบรม วัน เวลา หัวข้อวิชาอบรม ชื่อวิทยากรผู้บรรยาย โดยหัวข้อวิชาและจำนวนชั่วโมงของรายวิชาเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรอ้างอิงตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2564 หมวด 1 ข้อ 2 และ หมวด 2 ข้อ 12 วิทยากรมีคุณสมบัติตาม หมวด 3 ข้อ 16 (1)
ใบรับรองการฝึกอบรม:Certification
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับใบรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรภายในวันอบรม
ใบรับรองการฝ่านการฝึกอบรมจากบริษัทของลูกค้าร่วมกับวิทยากรผู้บรรยาย
หมายเหตุ หลักสูตรอบรมเป็นไปตามข้อกำหนดของประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
พ.ศ. 2564 หมวด 1 ข้อที่ 2 การอบรมโดยนายจ้าง ออกใบรับรองในนามบริษัทของนายจ้างเท่านั้น
ใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลผู้ให้บริการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
# ใบอนุญาตนิติบุคคล อับอากาศ เลขที่ 0501-03-2566-0032
# ใบอนุญาตนิติบุคคล ไฟฟ้า เลขที่ 0301-03-2566-0022
# ผู้ให้บริการ จปง จปบ คปอ เลขที่ 13-66-069